ปัจจัยที่ได้จากรูปิยะที่ภิกษุรับ ไม่ควรแก่เธอผู้รับ

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ปัจจัยที่ได้จากรูปิยะที่ภิกษุรับ ไม่ควรแก่เธอผู้รับ

 

เล่ม ๓ หน้า ๙๔๘-๙๕๐ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๘๙๕-๘๙๗ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓

 

บางส่วนของ โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๘

พรรณนารูปิยสิกขาบท

 

ภิกษุจัดการกหาปณะ สิ่งของที่พวกเขานำมา เป็นอกัปปิยะแก่พวกภิกษุทั่วไป

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ภิกษุจัดการกหาปณะ สิ่งของที่พวกเขานำมา

เป็นอกัปปิยะแก่พวกภิกษุทั่วไป

 

เล่ม ๓ หน้า ๘๖๙ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๘๑๘-๘๑๙ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓

 

บางส่วนของ จีวรวรรคที่ ๑ สิกขาบทที่ ๑๐ พรรณนาราชสิกขาบท

ภิกษุใดยินดีทองและเงินที่เขาเก็บไว้เพื่อตน มโนสมาจารของภิกษุนั้นชื่อว่า ไม่บริสุทธิ์

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ภิกษุใดยินดีทองและเงินที่เขาเก็บไว้เพื่อตน

มโนสมาจารของภิกษุนั้นชื่อว่า ไม่บริสุทธิ์

 

 

เล่ม ๑๙ หน้า ๒๒๓-๒๒๔ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๒๒๖ (ปกสีแดง)

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๓

 

บางส่วนของ อรรถกถามหาอัสสปุรสูตร

ภิกษุรับเองก็ดี ให้รับก็ดี ซึ่งทองและเงิน เพื่อประโยชน์แก่ตน เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ รับเองก็ดี ให้รับเองก็ดี เพื่อประโยชน์แก่สงฆ์ คณะ บุคคล เจดีย์ และนวกรรม เป็นทุกกฏ

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ภิกษุรับเองก็ดี ให้รับก็ดี ซึ่งทองและเงิน เพื่อประโยชน์แก่ตน

เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์

รับเองก็ดี ให้รับเองก็ดี เพื่อประโยชน์แก่สงฆ์ คณะ บุคคล เจดีย์ และนวกรรม

เป็นทุกกฏ

 

เล่ม ๓ หน้า ๙๔๖ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๘๙๓ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓

 

บางส่วนของ พรรณนารูปิยสิกขาบท

สามเณรก็ต้องเว้นจากรับทองและเงิน

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

สามเณรก็ต้องเว้นจากรับทองและเงิน

 

เล่ม ๖ หน้า ๘๑-๘๒ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๒๔๑ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก มหาวรรค เล่ม ๔ ภาค ๑

 

บางส่วนของ อรรถกถาบรรพชาวินิจฉัย

ทอง , เงิน คือ ?

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ทอง , เงิน คือ ?

 

เล่ม ๓ หน้า ๙๔๑-๙๔๒ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๘๘๘-๘๘๙ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓

 

บางส่วนของ โกสิยวรรคสิกขาบทที่ ๘

สมณพราหมณ์พวกหนึ่งยินดีทองและเงิน ไม่งดเว้นจากการรับทองและเงิน นี้เป็นเครื่องเศร้าหมองของสมณพราหมณ์

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

สมณพราหมณ์พวกหนึ่งยินดีทองและเงิน

ไม่งดเว้นจากการรับทองและเงิน

นี้เป็นเครื่องเศร้าหมองของสมณพราหมณ์

 

เล่ม ๙ หน้า ๕๓๐-๕๓๕ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๕๑๙-๕๒๓ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก จุลวรรค เล่ม ๗ ภาค ๒

 

สัตตสติกขันธกะ

เรื่องพระวัชชีบุตรแสดงวัตถุ ๑๐ ประการ

D-study.com

ช่องทางการติดต่อ

facebook FaceBook

phone 0894453994