การแจกจ่ายธรรมเป็นเลิศ

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

การแจกจ่ายธรรมเป็นเลิศ

 

เล่ม ๔๕ หน้า ๖๓๔-๖๓๕ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๖๑๐-๖๑๑ (ปกสีแดง)

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่ม ๑ ภาค ๔

 

๑. พราหมณสูตร 

ว่าด้วยการให้ทาน  ๒ อย่าง

 

ผู้ที่ชักชวนเข้าใน ธรรมวินัยที่กล่าวไว้ดี ย่อมประสบบุญเป็นอันมาก

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ผู้ที่ชักชวนเข้าในธรรมวินัยที่กล่าวไว้ดี

ย่อมประสบบุญเป็นอันมาก

 

“ ผู้ที่ชักชวนเข้าในธรรมวินัยที่กล่าวไว้ดี ๑

ผู้ที่ถูกชักชวนแล้วปฏิบัติเพื่อความเป็นอย่างนั้น ๑

คนทั้งหมดนั้น ย่อมประสบบุญเป็นอันมาก 

 

เล่ม ๓๓ หน้า ๑๙๑-๑๙๓ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๑๖๕-๑๖๗ (ปกสีแดง)

พระสุตตันตปิฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๒

 

วรรคที่ ๓

ว่าด้วยบุคคลคนเดียวที่เกิดขึ้นแล้วยังความพินาศแก่โลกเป็นต้น

ผลของการชักชวน มหาชนบำเพ็ญการกุศล

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ผลของการชักชวนมหาชนบำเพ็ญการกุศล

 

เล่ม ๔๒ หน้า ๑๑๓-๑๒๐ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๙๔-๙๙ (ปกสีแดง)

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๓

 

๙. เรื่องสันตติมหาอำมาตย์ [๑๑๕]

บุคคลปฏิบัติทั้งเพื่อประโยชน์ตน ทั้งเพื่อประโยชน์ผู้อื่น

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

บุคคลปฏิบัติทั้งเพื่อประโยชน์ตน ทั้งเพื่อประโยชน์ผู้อื่น

 

เล่ม ๓๕ หน้า ๒๗๖-๒๗๗ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๒๘๕-๒๘๖ (ปกสีแดง)

พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย จตุกนิบาต เล่ม ๒

 

๙. สิกขาสูตร

ว่าด้วยบุคคล ๔ จำพวกที่ ๘

ธรรมวินัยอันพระตถาคตเจ้า ประกาศแล้วเปิดเผยไม่กำบังจึงรุ่งเรือง

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ธรรมวินัยอันพระตถาคตเจ้าประกาศแล้วเปิดเผยไม่กำบังจึงรุ่งเรือง 

 

เล่ม ๑๐ หน้า ๔๖๕ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๔๒๓ (ปกสีแดง)

พระวินัยปิฎก ปริวาร เล่ม ๘

 

ว่าด้วยการปิดเป็นต้น 

ผู้ที่ชักชวนให้ปฏิบัติ ตามธรรมที่พระพุทธเจ้าแสดงไว้ประสบบุญเป็นอันมาก

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

ผู้ที่ชักชวนให้ปฏิบัติตามธรรมที่พระพุทธเจ้าแสดงไว้

ประสบบุญเป็นอันมาก

 

ดูก่อนจุนทะ ผู้ใดแลพึงกล่าวกะสาวกเห็นปานนั้นอย่างนี้ว่า 

ท่านจงปฏิบัติธรรมที่ศาสดาของท่านแสดงไว้แล้ว

บัญญัติไว้แล้วเถิด.

ผู้ที่ชักชวน 

ผู้ที่ถูกชักชวน

ผู้ที่ถูกชักชวนแล้วย่อมปฏิบัติเพื่อความเป็นอย่างนั้น

คนทั้งหมดนั้นจะประสบบุญเป็นอันมาก.

ข้อนั้นเพราะเหตุไร.

ดูก่อนจุนทะ 

เพราะว่าข้อนี้มีอยู่ในธรรมวินัยที่พระศาสดากล่าวไว้ดีแล้ว

ประกาศไว้ดีแล้ว

เป็นธรรมที่จะนำผู้ปฏิบัติให้ออกไปจากทุกข์ได้

เป็นไปเพื่อความสงบ

เป็นธรรมที่ท่านผู้เป็นสัมมาสัมพุทธะประกาศไว้อย่างนี้แล.

 

เล่ม ๑๕ หน้า ๒๖๓-๒๖๔ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๒๕๗ (ปกสีแดง)

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เล่ม ๓ ภาค ๑

 

บางส่วนของ ๖. ปาสาทิกสูตร 

เรื่องนิคัณฐนาฏบุตรถึงแก่กรรม

พระธรรมวินัยที่ตถาคต ประกาศแล้ว เปิดเผยดี ปกปิดไม่ดี

ข้อมูลจาก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

(พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๕) (ปกสีน้ำเงิน) และ (พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๖) (ปกสีแดง)

 

พระธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว เปิดเผยดี ปกปิดไม่ดี

 

เล่ม ๓๔ หน้า ๕๖๗ (ปกสีน้ำเงิน) / หน้า ๕๘๙-๕๙๐ (ปกสีแดง)

พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓

 

๙. ปฏิจฉันนสูตร 

ว่าด้วยสิ่งที่ปิดดีเปิดไม่ดี ๓ อย่าง

D-study.com

ช่องทางการติดต่อ

facebook FaceBook

phone 0894453994